ขอให้ผู้ใฝ่ธรรมทุกท่านมีความสุขกายสุขใจเถิด

ถวายพรพระ , ชะยะปริตร ,อาการวัตตาสูตร


ถวายพรพระ (พระพุทธเจ้า)


๑) พาหุง สะหัสสะมะ   ภินิม มิตะสาวุธันตัง    
ค๎รีเมขะลัง อุทิตะโฆ   ระสะเสนะมารัง
ทานาทิ ธัมมะ วิธินา ชิต๎วา  มุนินโท,
พระจอมมุนีได้ชนะพญามาร, ผู้เนรมิตแขนมาก ตั้งพัน, ถืออาวุธครบมือ ขี่คชสารครีเมขละ, พร้อมด้วยเสนามารโห่ร้องก้องกึกด้วยธรรมวิธี มีทานบารมีเป็นต้น,

ตันเตชะสา ภะวะตุเต ชะยะมังคะลานิ,  ขอชัยมงคลทั้งหลาย จงมีแก่ท่าน ด้วยเดชแห่งพระพุทธชัยมงคลนั้น,

๒) มาราติเรกะมะภิยุช  ฌิตะ สัพพะรัตติง   โฆรัมปะนาฬะวะกะ มัก ขะมะถัทธะยักขัง ขันตี สุทันตะวิธินา ชิต๎วา
มุนินโท,
พระจอมมุนีได้ชนะอาฬะวะกะยักษ์, ผู้มีจิตกระด้างปราศจาคความอดทน, มีฤทธิ์พิลึกยิ่งกว่าพญามาร, เข้ามาต่อสู้ยิ่งนักจนตลอดรุ่ง, ด้วยวิธีทรมานเป็นอันดี คือ พระขันตี,


ตันเตชะสา ภะวะตุเต ชะยะมังคะลานิ,
ขอชัยมงคลทั้งหลาย จงมีแก่ท่าน ด้วยเดชแห่งพระพุทธชัยมงคลนั้น,

๓) นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง ทาวัคคิ จักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง เมตตัมพุ เสกะวิธินา ชิต๎วา มุนินโท,
พระจอมมุนี ได้ชนะช้างตัวประเสริฐ ชื่อนาฬาคีรี,
เป็นช้างเมามันยิ่งนัก แสนที่จะทารุณประดุจเพลิงป่า, แลจักราวุธแลสายฟ้า, ด้วยวิธีรดลงด้วยน้ำ คือพระเมตตา,

ตันเตชะสา ภะวะตุเต ชะยะมังคะลานิ,
ขอชัยมงคลทั้งหลาย จงมีแก่ท่าน ด้วยเดชแห่งพระพุทธชัยมงคลนั้น,

๔) อุกขิตตะขัคคะมะติ หัตถะ สุทารุณันตัง ธาวันติโย ชะนะปะถัง  คุลิมาละวันตัง อิทธีภิสังขะตะมะโน  ชิต๎วา มุนินโท,
พระจอมมุนีมีพระหฤทัย, ไปในที่จะกระทำอิทธิ ปาฏิหาริย์, ได้ชนะโจรชื่อองคุลีมาล, (ผู้มีพวง ดอกไม้ คือนิ้วมนุษย์)แสนร้ายกาจ มีฝีมือ, ถือดาบเงื้อวิ่งไล่พระองค์ไป สิ้นทางสามโยชน์,
ขอชัยมงคลทั้งหลาย จงมีแก่ท่าน ด้วยเดชแห่งพระพุทธชัยมงคลนั้น,

ตันเตชะสา ภะวะตุเต ชะยะมังคะลานิ,
ขอชัยมงคลทั้งหลาย จงมีแก่ท่าน ด้วยเดชแห่ง
พระพุทธชัยมงคลนั้น,

๕) กัต๎วานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะคัพภินียา จิญจายะทุฏฐะวะจะนัง    ชะนะกายะมัชเฌสันเตนะ โสมะวิธินา ชิต๎วา มุนินโท,
พระจอมมุนีได้ชนะความกล่าวร้ายของนางจิญจมาณวิกา,ทำอาการประดุจว่ามีครรภ์, เพราะทำไม้มีสัณฐานอันกลม, ให้เป็นประดุจมีท้อง, ด้วยวิธีสมาธิอันงาม, คือความระงับพระหฤทัย,

ตันเตชะสา ภะวะตุเต ชะยะมังคะลานิ,
ขอชัยมงคลทั้งหลาย จงมีแก่ท่าน ด้วยเดชแห่งพระพุทธชัยมงคลนั้น,


๖) สัจจัง วิหายะมะติ สัจจะกะวาทะเกตุง วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง ปัญญาปะทีปะชะลิโต  ชิต๎วามุนินโท,
พระจอมมุนีรุ่งเรืองแล้วด้วยประทีป คือ พระปัญญา,ได้ชนะสัจจะกะนิครนถ์, ผู้มีอัชฌาสัยในที่ละเสียซึ่งความสัตย์, มีใจในที่จะยกถ้อยคำของตนให้สูงดุจยกธง, เป็นผู้มืดมนยิ่งนักด้วยเทศนาญาณวิธี, คือรู้อัชฌาสัยแล้วตรัสเทศนา,


ตันเตชะสา ภะวะตุเต ชะยะมังคะลานิ,
ขอชัยมงคลทั้งหลาย จงมีแก่ท่าน ด้วยเดชแห่งพระพุทธชัยมงคลนั้น,

๗.นันโทปะนันทะ  ภุชะคังวิพุธัง  มะหิทธิง ปุตเตนะเถระ  ภุชะเคนะ  ทะมาปะยันโต, อิทธูปะเทสะวิธินา ชิต๎วา มุนินโท,
พระจอมมุนีได้ชนะความกล่าวร้ายของนางจิญจมาณวิกา, ทำอาการประดุจว่ามีครรภ์, เพราะทำไม้มีสัณฐานอันกลม, ให้เป็นประดุจมีท้อง, ด้วยวิธีสมาธิอันงาม, คือความระงับพระหฤทัย,

ตันเตชะสา ภะวะตุเต ชะยะมังคะลานิ,
ขอชัยมงคลทั้งหลาย จงมีแก่ท่าน ด้วยเดชแห่งพระพุทธชัยมงคลนั้น,

๘) ทุคคาหะทิฐิ ภุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง พรัหม๎มัง  วิสุทธิชุติ มิทธิพะกาภิธานัง ญาณาคะเทนะ วิธินา ชิต๎วา มุนินโท,

พระจอมมุนีได้ชนะพรหม ผู้มีนามว่าท้าวพะกา, ผู้มีฤทธิ์มีอันสำคัญตนว่าเป็นผู้รุ่งเรืองด้วยคุณอันบริสุทธิ์, มีมืออันท้าวภุชงค์, คือทิฏฐิที่ตนถือผิดรึงรัดไว้แน่นแฟ้นแล้ว, ด้วยวิธีวางยาอันพิเศษ คือ เทศนาญาณ,

ตันเตชะสา ภะวะตุเต ชะยะมังคะลานิ,
ขอชัยมงคลทั้งหลาย จงมีแก่ท่าน ด้วยเดชแห่งพระพุทธชัยมงคลนั้น,
เอตาปิ  พุทธะชะยะมัง คะละอัฎฐะ คาถาโย  วาจะโน ทินะทิเน  สะระเตมะตันทีหิต๎วา นะเนกะวิ วิธานิ จุปัท๎วานิ, โมกขัง สุขัง อะทิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ.

นรชนใดมีปัญญา ไม่เกียจคร้าน, สวดก็ดี ระลึกก็ดี, ซึ่งพระพุทธชัยมงคลแปดคาถา, แม้เหล่านี้ทุกๆวัน, นรชนนั้นพึงละเสียได้ ซึ่งอุปัทวันตรายทั้งหลาย, มีประการต่างๆเป็นอเนกถึงวิโมกขศิวาลัย,  อันเป็นบรมสุข แล.



ชะยะปะริตร

มะหาการุณิโก นาโถ,
ผู้เป็นที่พึ่งของสัตว์ประกอบแล้วด้วยมหากรุณา,
หิตายะ สัพพะปาณินัง ปูเรต๎วา ปาระมีสัพพา,
ยังบารมีทั้งหลายทั้งปวงให้เต็มเพื่อประโยชน์แก่สรรพสัตว์ทั้งหลาย,
ปัตโต สัมโพธิมุตตะ มัง,
ถึงแล้วซึ่งความตรัสรู้อันอุดม,
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ,
ด้วยคำสัตย์นี้,
โหตุ เต ชะยะมังคะลัง,
ขอชัยมงคลจงมีแก่ท่าน,
ชะยันโต โพธิยา มูเล สัก๎ยานัง นันทิ วัฑฒะโน เอวัง ต๎วัง วิชะโยโหหิ  ชะยัสสุ ชะยะ มังคะเล อะปะราชิตะ ปัลลังเกสีเส ปะฐะวิโปก ขะเร อะภิเสเก สัพพะพุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติ,
พระพุทธเจ้าทรงผจญมาร, ณ โคนโพธิ์พฤกษ์, ถึงความเป็นผู้ชนะแล้ว ทรงบันเทิงอยู่ในอภิเษก แห่งพระพุทธเจ้าทั้งหลายทั้งปวง, ให้เจริญความยินดีแก่พวกศากยราช, ว่าพระองค์ชนะมาร ณ อปราชิตบัลลังก์, อันเป็นชัยมงคลเหนือใบบัว, คือปฐพีเป็นประธานฉันใด ขอท่านจงเป็นผู้ชนะฉันนั้น,
สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุกขะโณ สุมุหุตโต จะสุยิฏฐัง พรัหม๎จาริสุ,
สัตว์ทั้งหลาย ประพฤติชอบในเวลาใด, เวลานั้นชื่อว่าฤกษ์ดี, มงคลดี สว่างดี, รุ่งดี แลขณะดี, ครู่ดี บูชาแล้วดูดี, ในพรหมจารีบุคคลทั้งหลาย,
ปะทักขิณัง กายะ กัมมัง,
กายกรรม เป็นประทักษิณส่วนเบื้องขวา,
วาจากัมมัง ปะทักขิณัง,
วจีกรรม เป็นประทักษิณส่วนเบื้องขวา,
ปะทักขิณัง มะโน กัมมัง,
มโนกรรม เป็นประทักษิณส่วนเบื้องขวา,
ปะณิธีเต ปะทักขิณา,
ความปรารถนาของท่าน เป็นประทักษิณ, ส่วนเบื้องขวา,
ปะทักขิณานิ กัต๎วานะ,
สัตว์ทั้งหลายทำกรรม อันเป็นประทักษิณ ส่วนเบื้องขวา,
ละภันตัตเถ ปะทักขิเณ.
ย่อมได้ประโยชน์ทั้งหลายอันเป็นประทักษิณ ส่วนเบื้องขวา.


พระอาการวัตตาสูตร
(ตั้งนะโม ๓ จบ)
หันทะ มะยัง อาการะวัตตาสุตตะคาถาโย ภะณามะเส

อิติปิ  โส  ภะคะวา  อะระหัง
อิติปิ  โส  ภะคะวา  สัมมาสัมพุทโธ
อิติปิ  โส  ภะคะวา  วิชชาจะระณะสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  สุคะโต
อิติปิ  โส  ภะคะวา  โลกะวิทู
อิติปิ  โส  ภะคะวา  อะนุตตะโร  ปุริสะทัมมะสาระถิ
อิติปิ  โส  ภะคะวา  สัตถาเทวะมะนุสสานัง
อิติปิ  โส  ภะคะวา  พุทโธ
อิติปิ  โส  ภะคะวา  ภะคะวาติ ฯ

พุทธะคุณะวัคโค  ปะฐะโม (จบวรรคที่ ๑)


อิติปิ  โส  ภะคะวา  อะภินิหาระ  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  อุฬารัชฌาสะยะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  ปะณิธานะ  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  มะหากะรุณา  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  ญาณะ  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  ปะโยคะ  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  ยุติ  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  ชุตติ  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  คัพภะโอกกันติ  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  คัพภะฐิติ  ปาระมิสัมปันโน

อะภินิหาระวัคโค ทุติโย (จบวรรคที่ ๒)


อิติปิ  โส  ภะคะวา  คัพพะวุฏฐานะ  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  คัพภะมะละวิระหิตะ  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  อุตตะมะชาติ  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  คะติ  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  อะภิรูปะ  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  สุวัณณะ  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  มะหาสิริ  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  อาโรหะ  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  ปะริณามะ  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  สุนิฏฐะ  ปาระมิสัมปันโน

คัพภะวุฎฐานะวัคโค ตะติโย (จบวรรคที่ ๓)


อิติปิ  โส  ภะคะวา  อภิสัมโพธิ  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  สีละขันธะ  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  สะมาธิขันธะ  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  ปัญญาขันธะ  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  ทะวัตติงสะมะหา ปุริสะลักขะณะ  ปาระมิสัมปันโน

อะภิสัมโพธิวัคโค จะตุตโถ (จบวรรคที่ ๔)


อิติปิ  โส  ภะคะวา  มะหาปัญญา  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  ปุถุปัญญา  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  หาสะปัญญา  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  ชะวะนะปัญญา  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  ติกขะปัญญา  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  ปัญจะจักขุ  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  อัฏฐาระสะพุทธะกะระ  ปาระมิสัมปันโน

มะหาปัญญาวัคโค ปัญจะโม (จบวรรคที่ ๕)


อิติปิ  โส  ภะคะวา  ทานะ  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  สีละ  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  เนกขัมมะ  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  ปัญญา  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  วิริยะ  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  ขันติ  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  สัจจะ  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  อะธิฏฐานะ  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  เมตตา  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  อุเปกขา  ปาระมิสัมปันโน

ปาระมิวัคโค ฉัฏโฐ (จบวรรคที่ ๖)


อิติปิ  โส  ภะคะวา  ทะสะ  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  ทะสะอุประ  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  ทะสะปะระมัตถะ  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  สะมะติงสะ  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  ตังตังฌานะฌานังคะ  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  อะภิญญา  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  สะติ  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  สะมาธิ  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  วิมุตติ  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  วิมุตติญาณะทัสสะนะ  ปาระมิสัมปันโน

ทะสะปาระมิควัคโค สัตตะโม (จบวรรคที่ ๗)


อิติปิ  โส  ภะคะวา  วิชชาจะระณะ  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  วิปัสสะนาญาณะวิชชา  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  มะโนมะยิทธิวิชชา  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  อิทธิวิชชา  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  ทิพพะโสตะวิชชา  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  ปะระจิตตะปะริยะญาณะวิชชา  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  ปุพเพนิวาสานุสสะติวิชชา  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  ทิพพะจักขุวิชชา  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  อาสะวักขะยะญาณะวิชชา  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  จะระณะวิชชา  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  จะระณะธัมมะวิชชา  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  อะนุปุพพะวิหาระ  ปาระมิสัมปันโน

วิชชาวัคโค  อัฏฐะโม (จบวรรคที่ ๘)


อิติปิ  โส  ภะคะวา  ปะริญญา  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  ปะหานะ  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  สัจฉิกิริยา  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  ภาวะนา  ปารามิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  ปะริญญาปะหานาสัจฉิกิริยาภาวะนา  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  จะตุธัมมะสัจจะ  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  ปะฏิสัมภิทาญาณะ  ปาระมิสัมปันโน

ปะริญญาณะวัคโค นะวะโม (จบวรรคที่ ๙)


อิติปิ  โส  ภะคะวา  โพธิปักขิยะธัมมะ  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  สะติปัฏานะปัญญา  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  สัมมัปปะธานะปัญญา  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  อิทธิปาทะปัญญา  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  อินทรียะปัญญา  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  พะละปัญญา  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  โพชฌังคะปัญญา  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  อัฏฐังคิกะมัคคะธัมมะ  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  มะหาปุริสะกิริยา  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  อะนาวะระณะวิโมกขะ  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  อะระหัตตะผะละวิมุตติ  ปาระมิสัมปันโน

โพธิปักขิยะวัคคโค  ทะสะโม (จบวรรคที่ ๑๐)


อิติปิ  โส  ภะคะวา  ทะสะพะละญาณะ  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  ฐานาฐานะญาณะ  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  วิปากะญาณะ  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  สัพพัตถะคามินีปะฏิปะทาญาณะ  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  นานาธาตุญาณะ  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  สัตตานังนานาธิมุติกะญาณะ  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  อินทรียะปะโรปะริยัติญาณะ  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  นิโรธะวุฏฐานะญาณะ  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  ฌานาทิสังกิเลสาทิญาณะ  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  ปุพเพนิวาสานุสสะติญาณะ  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  จุตูปะปาตะญาณะ  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  อาสะสวักขะยะญาณะ  ปาระมิสัมปันโน

ทะสะพะละญาณะวัคโค เอกาทะสะโม (จบวรรคที่ ๑๑)


อิติปิ  โส  ภะคะวา โกฏิสะหัสสานังปะกะติสะหัสสานัง  หัตถีนัง  พะละธะระ  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  ปุริสะโกฏิทะสะสะหัสสานัง  พะละธะระ  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  ปัญจะจักขุญาณะ  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  ยะมะกะญาณะ  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  สีละคุณะ  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  คุณะปาระมิสะมาปัตติ  ปาระมิสัมปันโน

กายะพะละวัคโค  ทะวาทาสะโม (จบวรรคที่ ๑๒)


อิติปิ  โส  ภะคะวา  ถามะพะละ  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  ถามะพะละญาณะ  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  พะละ  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  พะละญาณะ  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  ปุริสะ  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  ปุริสะญาณะ  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  อะตุละยะ  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  ญาณะ  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  อุตสาหะ  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  คะเวสีญาณะ  ปาระมิสัมปันโน

ถามะพะละวัคโค  เตระสะโม (จบวรรคที่ ๑๓)


อิติปิ  โส  ภะคะวา  จะริยา  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  จะริยาญาณะ  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  โลกัตถะจะริยา  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  โลกัตถะจะริยาญาณะ  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  ญาณัตถะจะริยา  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  ญาตัตถะจะริยาญาณะ  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  พุทธัตถะจะริยา  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  พุทธัตถะจะริยาญานะ  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  ติวิธะจะริยา  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  ปาระมิอุประปาระมิปะระมัตถะ  ปาระมิสัมปันโน

จะริยาวัคโค  จะตุททะสะโม (จบวรรคที่ ๑๔)


อิติปิ  โส  ภะคะวา  ปัญจุปาทานักขันเธสุ  อะนิจจะลักขะณะ  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  ปัญจุปาทานักขันเธสุ  ทุกขะลักขะณะ  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  ปัญจุปาทานักขันเธสุ  อะนัตตะลักขะณะ  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  อายะตะเนสุ  ติลักขะณะญาณะ  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  อัฏฐาระสะธาตูสุ  ติลักขะณะญาณะ  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  วิปะริณามะลักขะณะ  ปาระมิสัมปันโน

ลักขะณะวัคโค  ปัณณะระสะโม (จบวรรคที่ ๑๕)


อิติปิ  โส  ภะคะวา  คะตัฏฐานะ  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  คะตัฏฐานะญาณะ  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  วะสีตะ  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  วะสีตะญาณะ  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  สิกขา  ปาระมิสันปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  สิกขาญาณะ  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  สังวะระ  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  สังวะระญานะ  ปาระมิสัมปันโน

คะตัฏฐานะวัคโค  โสฬะสะโม (จบวรรคที่ ๑๖)


อิติปิ  โส  ภะคะวา  พุทธะปะเวณิ  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  พุทธะปะเวณิญาณะ  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  ยะมะกะปาฏิหาริยะ  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  ยะมะกะปาฏิหาริยะญาณะ  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  จะตุพรัหมวิหาระ  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  อะนาวะระณะญาณะ  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  อะปะริยันตะญาณะ  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  สัพพัญญุตะญาณะ  ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ  โส  ภะคะวา  จะตุวีสะติโกฏิสะตะวะชิระญาณะ  ปาระมิสัมปันโน

ปะเวณิวัคโค  สัตตะระสะโม (จบ ๑๗ วรรคบริบูรณ์)